การเจริญของจุลินทรีย์
-การเพิ่มจำนวน,ขนาดของเซลล์
-พอจุลินทรีย์เพิ่มจำนวนจะรวมกลุ่มเป็นโคโลนีColony 100-1,000cells ขึ้นไป
-ปัจจัย
–เคมี
—Carbon-ธาตุที่จุลินทรีย์ต้องการมากสุด
—Nitrogen 15% สร้างหมู่อะมิโน-Sulfur,Phosphorus 3% ใช้สร้างโปรตีน กรดนิวคลีอิค,ATP
—Trance Elements – K,Mg,Ca,Fe,Cu,Mo,Zn ใช้เป็นโคแฟคเตอร์ ใหัเกิดปฏิกริยา
—Organic Growth Factor -สารอินทรีย์ที่ได้รับจากสิ่งแวดล้อม แต่แบคทีเรียบางชนิดสร้างเองไม่ได้ ต้องเติมเข้าไป
—Oxygen
—-Obligate Aerobes ต้องการออกซิเจน
—-Facultative Anaerobes ใช้ หรือ ไม่ใช้ ออกซิเจนก็ได้ ถ้าไม่ใช้จะเป็นการหมักFermentation-Escherichia coli
—-Obligate Anaerobe ไม่ใช้ออกซิเจนในการเจริญ-มีไนเตรต ซัลเฟต คาบอเนต เป็นตัวรับอิเล็กตรอนแทนออกซิเจน-Clostridium-จะไม่สร้างSuperoxide Dismutase และ Catalase
—-Aerotolerant anaerobes ไม่ใช้ออกซิเจน แต่ถ้ามีก็ทนได้-หมักคาร์โบไฮเดรต สร้างแลคติก-Lactobacillus หมักผักกาดดอง,เนยแข็ง
—-Microaerophiles-ใช้ออกซิเจนน้อย เพราะออกซิเจนเป็นพิษต่อมัน
โดยออกซิเจนจะเปลี่ยนเป็นToxic Formดังนี้
—–Singlet oxygen โมเลกุลออกซิเจนที่กระตุ้นโดยแสง จึงมีพลังงานสูง เจอในPhagocytic Cell (เซลล์เม็ดเลือดขาว)
—–Superoxide Free radical สร้างขึ้นมาน้อยเพราะเป็นพิษต่อเซลล์ แต่จุลินทรีย์ที่เจริญได้ในออกซิเจนจะสร้างเอนไซม์ Superoxide Dismitase
—–Hydrogen per oxide -เอนไซม์คะตะเลส ได้ น้ำ+ออกซิเจน
—–Hydroxyl Free Radical เจอในของเหลวในเซลล์ที่มีการกระตุ้นโดยรังสีอำนาจสูง
–กายภาพ
—อุณหภูมิ
—-Psychrophiles 5-15องศาเซลเซียส-จุลินทรีย์ในทะเล,มหาสมุทร
—-Psychrothroph อาหารแช่เย็น
—-Mesophiles 25-40องศาเซลเซียส -อาหารเน่า,เชื้อก่อโรค
—-Thermophiles 50-60องศาเซลเซียส-บ่อน้ำแร่,น้ำพุร้อน
—-Extreme Thermophiles 90องศาเซลเซียส ไม่เจริญในอุณหภูมิต่ำกว่า45องศาเซลเซียส-อาหารกระป๋อง
—กรด-ด่าง pH
—-ดีที่สุด 6.5-7.5
—-ยีส-รา 5-6
—-ในจานเพาะเชื้อ peptone,amino acid,เกลือฟอสเฟต จะช่วยรักษาระดับpHให้คงที่(buffer)
—Osmotic Pressure
—-จุลินทรีย์ต้องการน้ำ 80-90%
—-การถนอมอาหาร คือการทำให้สารละลายเข้มข้นสูง (ทำให้เซลล์เหี่ยว)
—-Facultative Halophiles -จุลินทรีย์ที่อยู่ได้ที่เกลือเข้มข้นมากกว่า2%
—-Extreme Halophiles -เกลือเข้มข้น30%,ทะเลDead Sea
-เทคนิคเลี้ยงเชื้อแบบไม่ใช้ออกซิเจน
–Anaerobic Jar,Gas-Pak Anaerobic Jar-sodium bi carbonate,sodium borohydride หยดน้ำไปจะได้ แก๊ส ไฮโดรเจน/คาร์บอนไดออกไซด์ ,palladium catalyst จับกับออกซิเจนในขวดโหล,แก๊สไฮโดรเจน จะกลายเป็นน้ำ ทำให้ออกซิเจนลดเร็ว,ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เร่งการเจริญเชื้อ
–Anaerobic Chamber -มีก๊าซเฉี่อย โดยใช้ก๊าซไนโตรเจนแทน-ใส่เชื้อใน Deep Test Tube,เอาเชื้อผสมกับอาหารที่หลอม,ฉีดเข้าหลอดที่มีจุกยางแล้วหมุนให้แาหารเคลือบหลอด
-เพาะเลี้ยงเชื้อแบบพิเศษ
–Living Host Cell -เพาะเชื้อในสิ่งมีชีวิต-Mycobacterium leprae เป็น Leprpsy bacillus ก่อโรคเรื้อน
-CO2 incubator-anaerobes ต้องการคาร์บอนไดออกไซด์
-Candle jars -ออกซิเจนลดเพราะเผาไหม้ และเพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์ให้เซลล์ -ประโยชน์ในการวินิจฉัยโรค-หนองใน
-อาหารเพาะเชื้อ Cultural Media
–ปลูกเชื้อInoculate
-อาหารเหลว
–Agarอาหารแข็ง-Polysaccaride สาหร่าย-เหลว100องศาเซลเซียส,แข็ง42-45องศาเซลเซียส
—Agar Slant-หลอดหน้าเอียง
—Agar Deep – หลอดไม่เอียง
—Agar Plate -จานเพาะเชื้อ
-การเจริญของแบคทีเรีย
–แบคทีเรียแบ่งแบบBinary Fission ทวีคูณ,ที่Mesosome บนพลาสมาเมมเบรน
–การเพิ่มเป็น2เท่าเรียก Generation Time,Doubling Time
-Phase of bacteria Growth(เป็นกราฟรูปภูเขา)
–Lag Phase -เส้นราบก่อนขึ้นเขา-ปรับตัวกับอาหารใหม่ จำนวนเซลล์คงที่
–Log Phase/Exponential Phase -ช่วงขึ้นเขา-แบ่งแบบทวีคูณ ได้เซลล์เกิดใหม่ จึงอ่อนแอต่อ รังสี ยา สารยับยั้งการเจริญ
–Stationary Phase-เส้นราบ บน ยอดเขา -อัตราเกิดพอๆกับตาย-ประชากรคงที่ เพราะอาหารเริ่มหมด และ สะสมของเสีย
–Dead Phase/Decline Phase-ช่วงลงเขา-ตายมากกว่าเกิด-จำนวนเซลล์ลดลงแบบ ล็อกกาลิทึม
-การวัดการเจริญ
–นับ
–วัดมวล(Cell/ml),Cell/g
-การประมาณค่าจำนวนจุลินทรีย์โดยตรง
–Total Plate Count -นับเซลล์มีชีวิต-ค่าเชื่อถือ 30-300โคโลนีต่อจาน-ถ้าเชื้อมากเกินให้ทำSerial dilution ,pour /spread plate เพื่อแยกเป็นโคโลนีเดี่ยวๆ สามารถคำนวณกลับหาเชื้อเริ่มต้นได้
–Filtration-กรองเชื้อผ่าน เมมเบรน filter มีรูเล็กกว่าแบคทีเรีย เอามาวางบนจาน บ่มแล้วนับโคโลนี -รูกรอง 0.2และ 0.45ไมโครเมตร
–Direct Microscopic Count-ใช้อุปกรณ์Petroff-Hausser Counter หรือ counting chamber นับเซลล์ในตาราง หาค่าเฉลี่ยCell/ml-ได้ผลเร็ว-แต่ไม่รุ้ว่าตายหรือมีชีวิต
–Most Probable NumberMethod(MPN)-ใช้กับเชื้อน้อย-ค่าประมาณ-เชื่อถือได้95%
-การประมาณค่าทางอ้อม
–Turbidity-ค่าความขุ่น-Spectrophotometerเข้าเครื่องวัด Photoelectric Cell วัดค่าแสงส่องผ่าน(%Transmittion),ค่าดูดกลืนแสง(OD)optical density-ใช้Generation Time ได้
–Metabolic Activity-วัดจากกิจกรรมที่ใช้ในเซลล์ เช่นวัดค่าออกซิเจนที่ใช้ จากMethylene blue (ออกซิเจนมากสีน้ำเงิน)
–Dry weight-วัดกลุ่มเชื้อรา กรองใยเชื้อราผ่านกระดาษกรอง แล้วทำให้แห้งในโถดูดความชื้น(Dessicator)และชั่งน้ำหนักเซลล์-บางวิธีก็ปั่นเหวี่ยงตะกอนแล้วเอามาชั่งน้ำหนักเซลล์
บล็อกนี้สรุปเนื้อหาที่เรียนทั้งหมดได้เข้าใจมากๆเลยค่ะ ขอบคุณนะคะ🙏🏻
ตอบลบ